วันจันทร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2562

สุ่ม โพธิเสน

ประวัติ

นายสุ่ม โพธิเสน
(แบบแบ่งเขตเลือกตั้ง)
 สังกัดพรรคสังคมชาตินิยม และเคยเป็น 
ผู้ถือใบรับรองจัดตั้งโรงเรียนโพธิเสนวิทยา 
ข้อมูลส่วนบุคคลเกิด
07 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 (93 ปี)
เสียชีวิต 07 มีนาคม พ.ศ. 2545 (76 ปี)
ประวัติ
นาย สุ่ม โพธิเสน เกิดเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2468 
เป็นบุตรของนายจันทร์ โพธิเสน
(อดีตผู้ใหญ่บ้านบ้านดอนหรือบ้านเวียงคุกในปัจจุบัน) 
และนางดาว โพธิเสน (สกุลเดิม ณ หนองคาย) มีพี่น้อง 5 คน เกิดอยู่ที่บ้านเวียงคุก 
หมู่ 4 อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 
สำเร็จการศึกษาสอบไล่ได้ตามหลังสูตรประโยคครูมูล ในปี พ.ศ 2502 จัดตั้ง
โรงเรียนเพื่อให้เด็กและเยาว์ชนได้ศึกษาเรียนรู้ได้รับใบอนุญาตจาก
อธิบดีกรมวิสามัญศึกษาผู้ว่าราชการจังหวัดหนองคาย ในวันที่ 16 กันยายน 2551
 เป็นปราชญ์หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ให้ข้อมูลทั้งประวัติบ้านโพนสา ในปี พ.ศ 2523 
ได้ให้ความอนุเคราะห์รถยนต์ให้แก่โรงเรียนโพนศิลางามวิทยา
 ต้นตระกูลโพธิเสนสืบสายมาจากพระยาวุฒิธรรมมประดิษฐ์เป็นต้นตระกูลโพธิเสน
 เครือญาติสายสกุลที่ได้มาจากการสมรสของลูกหลานในภายหลัง สายสกุลแก้วโยธา
 สายสกุลจันทวงศ์ และราชสกุลทองแถม 

สถานที่
ด้วยที่พักสงฆ์ดอนแก้ว มีพระภิกษุมาพำนักอยู่ จำนวน ๔ รูปแต่ยังไม่มีอุโบสถ 
และมีผู้มีจิตศรัทธาบริจาค
 ที่ดิน เพื่อใช้ในการสร้างวัดเป็นที่พักนักของพระภิกษุสงฆ์สังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุต 
จังหวัดหนองคาย และเพื่อเป็นสถานที่ประกอบศาสนกิจอันก่อประโยชน์ด้านการสร้าง
ศีลธรรมให้กับชุมชน โรงเรียน
 ตามแนวพระราชดำริพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนารถบพิตร 
โดยทรงเน้นว่าให้มีวัดเพื่อให้มีพระไว้สอนชาวบ้านในบริเวณนั้น ไม่จำเป็นต้องเป็นวัดใหญ่โต 
เน้นให้สามารถเอื้อประโยชน์ต่อชุมชนได้เป็นสำคัญ ในลักษณะวัดขนาดเล็กที่เรียบง่าย 
ประหยัด 
และเกิดประโยชน์สูงสุด เป็นศูนย์รวมแห่งจิตใจ และศรัทธา เป็นแหล่งเผยแพร่ความรู้ 
ทั้งทางศาสนา
 สังคม และจริยธรรม แก่เยาวชน และประชาชนในชุมชน โดย นายอภิชาติ โพธิเสน
บุตรของนายสุม โพธิเสน อายุ ๖๗ ปี สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ อาชีพ 
ผู้รับใบอนุญาตโรงเรียนโพธิเสนวิทยา อยู่บ้านเลขที่ ๙/๓ หมู่ที่ ๔ ตำบล ท่าบ่อ 
อำเภอ ท่าบ่อ จังหวัด หนองคาย บริจาคที่ดินโฉนด น.ส.๓ก. เลขที่ ๑๗๓๘ ตั้งอยู่ที่
 บ้านเดื่อ ถนนมิตรภาพ หมู่ที่ ๖ ตำบล บ้านเดื่อ อำเภอ ท่าบ่อ จังหวัด หนองคาย 
มีเนื้อที่ ๕ไ ร่ - งาน ๓๐ ตารางวา [3]

บุคคลสำคัญท่องถิ่น
ขนะดำรงตำแหน่งนายสุ่ม โพธิเสนเป็นที่รู้จักของคนในพื้นที่ในการสร้างถิ่นฐานหมู่บ้านเวียงคุก 
ในขนะนั้นบ้านเวียงคุกชื่อว่าบ้านดอนหรือห้วยคุก เพาะเป็นดอกเล็กๆที่ติดกับริมแม่น้ำโขงสามารถ
ข้ามแม่น้ำโขงไปหากันได้ในยามแล้ง ในปี พ.ศ 2523 น้ำโขงเพื่มปริมาณขึ้นทำให้บ้านดอนกลาย
เป็นน้ำนายสุ่ม โพธิเสน นำเรือและอาหารมาดูแลรักษาและอพยกชาวบ้านขึ้นจากที่อันตราย 
การรับการดูแลผู้ที่อพยมมาจากประเทศลาว ผู้ป้องกันคนญานและคนลาวที่อพยมเข้ามาก่อ
การร้าย[4] 
ได้ตั่งกระทู้ในรัฐสภาเป็นข้อมูลบ้างส่วนที่เล่าขานมาจากผู้เฒ่าผู้แก่อาจจะไม่มีอางอิงแน่ชัด
 ส่วนในตำนานอุรังคนิทานได้กล่าวถึง หมื่นกางโฮง(กลางโรง) ได้อพยพผู้คนมาจากเมืองสาเกตุ
(จังหวัดร้อยเอ็ด)เพราะเมืองล่ม มาตั้งบ้านเรือนอยู่ปาก "ห้วยคุก" และการบรรจุพระธาตุบังพวน
(พระธาตุขี่โพนหรือกระเพาะอาหาร) ซึ่งอยู่ใต้เมืองนี้ด้วย และตำนานท้องถิ่นว่ามีเจ้ามหาชีวิตลาว
องค์หนึ่งทำคุคำ(ครุทองคำ)มาตกที่ห้วยนี้ จึงเรียกว่า "ห้วยคุกทองคำ" และกร่อนเสียงเป็น "คุก" 
จนตั้งเมืองและเวียง(นคร)ขึ้นจึงเรียกชื่อตามว่า "เวียงคุก" [5]

โรงเรียนประจำตระกูล

โรงเรียนโพธิเสนวิทยา

โรงเรียนโพธิเสนวิทยา (อักษรย่อ:พ.ว.) 
เป็นโรงเรียนตั้งอยู่เลขที่ 9/3 หมู่ 1 ถนนเลียบวัด
 ตำบลท่าบ่อ อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย 
บนพื้นที่ 2 ไร่ 2 งาน เป็นอาคารคอนกรีต 4 ชั้น 
จำนวน 1 หลัง อาคารครึ่งไม้ 2 ชั้น
 มีโรงอาหารและห้องครัวติดอยู่กับอาคารครึ่งไม้ จำนวน 1 หลัง

ประวัติโรงเรียน

เดิมชื่อโรงเรียนเจริญศิลป์ มีนายวิรัตน์ เจริญศรี 
เป็นเจ้าของ 
ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2502 เปิดสอนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 
1–3 
มีนายสุวรรณ จันทร์เจริญ เป็นครูใหญ่รับเฉพาะนักเรียนชาย 
พ.ศ. 2507 ได้โอนกิจการโรงเรียนให้ นายสุ่ม โพธิเสน
 เป็นเจ้าของ ได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนโพธิเสนวิทยา 
เปิดสอนระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เนื้อที่ 1 ไร่ 2 งาน 
เขตพื้นที่บริการ 
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 ได้ย้ายจากที่ตั้งเดิม
 ไปสร้างอาคารใหม่ที่
งานการเมือง
อดีตเป็นครู บุคลากร โรงเรียนในสังกัดเอกชน ในพื้นที่อำเภอท่าบ่อ จังหวัดหนองคาย 
เข้าสู่วงการการเมืองเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2519 โดยลงสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภา
ผู้แทนราษฎร
จังหวัดหนองคาย เขต 1 สังกัดพรรคพลังชาติสังคมนิยม ปี พ.ศ. 2519 
ลงสมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในระบบแบ่งเขตเลือกตั้ง จังหวัดหนองคาย 
เขตการเลือกตั้งที่ 1 ใน อำเภอเมืองหนองคาย, อำเภอศรีเชียงใหม่, อำเภอท่าบ่อ 
และอำเภอสังคม นายสุ่ม โพธิเสนได้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 6 
เดือนเนื่องจากเกิดการเปลี่ยนหลังการเลือกตั้งเมื่อวันที่ 
4 เมษายน พ.ศ. 2519 ปรากฏว่า พรรคประชาธิปัตย์ ชนะการเลือกตั้งได้จำนวน ส.ส.
 มากที่สุดจึงได้ทำการจัดตั้งรัฐบาลผสม 4 พรรคซึ่ง 
พรรคสังคมชาตินิยม ได้เข้าร่วมรัฐบาลพรรคประชาธิปัตย์พร้อมกับ
 พรรคชาติไทย และ พรรคธรรมสังคมโดยมีประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ 
ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ซึ่งรัฐบาลผสมชุดนี้ได้บริหารประเทศอยู่ 
6 เดือนก่อนจะถูก คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน รัฐประหารเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
สุ่ม โพธิเสน ได้รับการเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบแบ่งเขต ครั้งแรก คือ
เครื่องราชอิสริยาภรณ์